ปรีดี พนมยงค์ เป็นบุคคลหนึ่งที่มีความน่าสนใจทั้งในทางการเมืองและในทางเศรษฐกิจ ในแง่หนึ่ง ปรีดี เป็นนักคิดและเป็นนักปฏิบัติภายในตัวเอง โดยมีความคิดในการผสมผสานเอาหลักการทางเศรษฐกิจหลายๆ เรื่องมาใช้เพื่อวางโครงการทางเศรษฐกิจ หนึ่งในแนวคิดสำคัญ และอาจเรียกได้ว่าเป็นอุดมการณ์สำคัญของ ปรีดี คือ ความรักชาติ ซึ่งสะท้อนอยู่ในเค้าโครงการเศรษฐกิจที่ถูกนำเสนอมาควบคู่กับเจตนารมณ์จะทำเพื่อบำรุงความสุขสมบูรณ์ของราษฎร
หมวดหมู่: Political Economy
คณะราษฎรกับภารกิจเพื่อสร้างระบบภาษีที่เป็นธรรมในสังคมไทย
ผลกระทบภายหลังจากการทำสนธิสัญญาเบาว์ริงที่เข้ามาเปลี่ยนแปลงสภาพเศรษฐกิจของสังคมสยาม และการกำหนดประเภทของภาษี รวมถึงผลกระทบของภาษีที่เกิดขึ้นกับสังคม และความพยายามของคณะราษฎรเพื่อสร้างความเป็นธรรมในระบอบภาษีของสยาม
นโยบายการปฏิรูปที่ดินเพื่อลดความเหลื่อมล้ำในสังคมของคณะราษฎร
จากหลัก 6 ประการข้อที่ 3 ว่าด้วย “เศรษฐกิจ” สู่ความพยายามของคณะราษฎรต่อนโยบายการปฏิรูปที่ดินหลังการอภิวัฒน์สยาม 2475 ซึ่งต้องเผชิญแรงเสียดทานของผู้คนในระบอบเก่า
เเนวคิดทางเศรษฐศาสตร์การเมืองของ ปรีดี พนมยงค์ ต่อสังคมไทย : บทสรุปในหนังสือวิพากษ์เศรษฐศาสตร์การเมืองของ ปรีชา เปี่ยมพงศ์สานต์
อ่านความคิดเศรษฐศาสตร์การเมืองของ ‘นายปรีดี พนมยงค์’ ผ่านบทสรุปจากงานศึกษาเรื่อง “รื้อถอนการพัฒนา ความยั่งยืนทางนิเวศ และความยุติธรรมทางสังคม : บทวิพากษ์เศรษฐศาสตร์การเมือง” โดย ‘ปรีชา เปี่ยมพงศ์สานต์’ โดยวิเคราะห์กรอบความคิดและทำความเข้าใจมุมมองของนายปรีดีที่ใช้ผลักดันสังคมสยามในระยะเปลี่ยนผ่าน
ความเป็นจริงของความเสมอภาคทางเพศ : เมื่อสิทธิในรัฐธรรมนูญไม่เป็นจริงในชีวิตจริง
ความเหลื่อมล้ำทางเพศที่เกิดขึ้นต่อสตรีและกลุ่มผู้มีความหลากหลายทางเพศ พร้อมยกกรณีตัวอย่างซึ่งเป็นอุปสรรคที่เกิดขึ้นในชีวิตประจำวัน ตลอดจนการรองรับในทางกฎหมายที่ยังมีช่องว่างและไม่ทั่วถึงทุกๆ คน
PRIDI Economic Focus: เศรษฐกิจของความรักชาติในเค้าโครงการเศรษฐกิจ
ปรีดี พนมยงค์ เป็นบุคคลหนึ่งที่มีความน่าสนใจทั้งในทางการเมืองและในทางเศรษฐกิจ ในแง่หนึ่ง ปรีดี เป็นนักคิดและเป็นนักปฏิบัติภายในตัวเอง โดยมีความคิดในการผสมผสานเอาหลักการทางเศรษฐกิจหลายๆ เรื่องมาใช้เพื่อวางโครงการทางเศรษฐกิจ หนึ่งในแนวคิดสำคัญ และอาจเรียกได้ว่าเป็นอุดมการณ์สำคัญของ ปรีดี คือ ความรักชาติ ซึ่งสะท้อนอยู่ในเค้าโครงการเศรษฐกิจที่ถูกนำเสนอมาควบคู่กับเจตนารมณ์จะทำเพื่อบำรุงความสุขสมบูรณ์ของราษฎร
PRIDI Economic Focus: จาก “ควบรวม” ถึง “ผูกขาด” ประเมินความเสี่ยงที่สังคมไทยต้องแบกรับ
“จาก “ควบรวม” ถึง “ผูกขาด” ประเมินความเสี่ยงที่สังคมไทยต้องแบกรับ” โดยชวนให้พิจารณาถึงการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ในอุตสาหกรรมโทรคมนาคม คือ การผนวกรวมของสองกลุ่มทุนใหญ่เข้าด้วยกัน โดยผู้เขียนชี้ให้เห็นถึงสภาพการแข่งขันทางธุรกิจก่อนเกิดกรณีดังกล่าว ที่ฉายภาพการแข่งขันเสรีอย่างขับเคี่ยวโดยกลุ่มทุนต่างๆ ซึ่งเป็นไปตามกลไกตลาด
ถอดรหัสรัฐสวัสดิการผ่านวัฒนธรรมการขอบริจาค
“การบริจาค” ดูเหมือนจะเป็นสิ่งที่คู่กับสังคมไทย เราไม่สามารถปฏิเสธได้ว่า การบริจาคและการทำการกุศลนั้นเป็นเรื่องที่ดีและเป็นอีกวิธีการหนึ่งที่ช่วยให้สังคมดีขึ้น และสร้างความเป็นภราดรภาพ (ให้รู้สึกเหมือนเป็นพี่น้องร่วมชาติกัน) ให้เกิดขึ้นภายใต้การอยู่ร่วมกัน มายาคติที่ว่านี้ส่วนหนึ่งนั้นอาจมาจากอิทธิพลของพุทธศาสนาและความเชื่อเรื่องบาป-บุญ
วัฒนธรรมของการลอยนวลพ้นผิดที่ขยายช่องว่างของความเหลื่อมล้ำ
เมื่อเข้าสู่ช่วงเดือนตุลาคม เหตุการณ์สำคัญที่จะต้องหยิบมาพูดถึงคือ เหตุการณ์ในวันที่ 14 ตุลาคม และ 6 ตุลาคม ซึ่งเป็นเหตุการณ์สำคัญในหน้าการเมืองไทย โดยเฉพาะอย่างยิ่งความเลวร้ายที่เกิดขึ้นในเหตุการณ์ทั้งสอง ซึ่งเป็นภาพสะท้อนของการลอยนวลพ้นผิดที่เกิดขึ้นในสังคมไทย ซึ่งการลอยนวลพ้นผิดนี้สร้างบาดแผลให้กับสังคมไทยในหลายๆ ด้าน ทั้งก่อให้เกิดความรู้สึกไม่เป็นธรรม อีกทั้งยังถ่างช่องว่างของความเหลื่อมล้ำให้กว้างขึ้น
PRIDI Economic Focus: 2565 ปรับค่าแรงใหม่เพียงพอหรือไม่ สำรวจบทวิเคราะห์ค่าแรง
ท่ามกลางปัจจัยทางเศรษฐกิจอื่นๆ ที่รายล้อมชีวิตของแรงงาน อัตราดังกล่าวเพียงพอต่อการดำรงชีวิตหรือไม่ ซึ่งผู้เขียนชวนสำรวจบทวิเคราะห์การเพิ่มอัตราค่าแรงขั้นต่ำ โดยได้เสนอทิศทางการกำหนดอัตราค่าจ้าง อันมีตัวแปรสำคัญ คือ “คุณภาพชีวิต” ที่มีมาตรฐานของแรงงานอยู่ในสมการนี้ด้วย เพื่อให้อัตราค่าแรงเป็นส่วนที่ช่วยในการยกระดับความเป็นอยู่ของแรงงานให้ดีมากยิ่งขึ้น
PRIDI Economic Focus: เศรษฐกิจสร้างสรรค์ ผลักดันเศรษฐกิจไทยด้วยอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์เกม
การประสบความสำเร็จของเกม Home Sweet Home นั้น สะท้อนการเข้าไปมีบทบาทในโลกผ่านการใช้ซอฟต์พาวเวอร์ (soft power) มากขึ้น อย่างไรก็ดี ไม่ใช่เกมทุกเกมจะประสบความสำเร็จในลักษณะเดียวกัน เกมของคนไทยจำนวนหนึ่งไปไม่ถึงฝันที่จะได้รับความนิยมในระดับสากล เนื่องจากประสบอุปสรรคที่เป็นข้อจำกัดของการพัฒนาเช่นเดียวกันกับอุตสาหกรรมเศรษฐกิจสร้างสรรค์อื่นๆ