“การบริจาค” ดูเหมือนจะเป็นสิ่งที่คู่กับสังคมไทย เราไม่สามารถปฏิเสธได้ว่า การบริจาคและการทำการกุศลนั้นเป็นเรื่องที่ดีและเป็นอีกวิธีการหนึ่งที่ช่วยให้สังคมดีขึ้น และสร้างความเป็นภราดรภาพ (ให้รู้สึกเหมือนเป็นพี่น้องร่วมชาติกัน) ให้เกิดขึ้นภายใต้การอยู่ร่วมกัน มายาคติที่ว่านี้ส่วนหนึ่งนั้นอาจมาจากอิทธิพลของพุทธศาสนาและความเชื่อเรื่องบาป-บุญ
ป้ายกำกับ: รัฐสวัสดิการ
รีวิวหนังสือ: สร้างสังคมไทยให้เป็นรัฐสวัสดิการ
หนังสือสร้างสังคมไทยให้เป็นรัฐสวัสดิการเป็นหนังสือเศรษฐศาสตร์การเมืองเล่มหนึ่งที่น่าสนใจอธิบายปรากฏการณ์เกี่ยวกับเศรษฐกิจของประเทศไทย และการต่อสู้ของขบวนการรัฐสวัสดิการ
วัฒนธรรมการระดมทุนกับสังคมไทย
วัฒนธรรมการระดมทุนกับสังคมไทย
ถอดรหัสรัฐสวัสดิการผ่านวัฒนธรรมการขอบริจาค
“การบริจาค” ดูเหมือนจะเป็นสิ่งที่คู่กับสังคมไทย เราไม่สามารถปฏิเสธได้ว่า การบริจาคและการทำการกุศลนั้นเป็นเรื่องที่ดีและเป็นอีกวิธีการหนึ่งที่ช่วยให้สังคมดีขึ้น และสร้างความเป็นภราดรภาพ (ให้รู้สึกเหมือนเป็นพี่น้องร่วมชาติกัน) ให้เกิดขึ้นภายใต้การอยู่ร่วมกัน มายาคติที่ว่านี้ส่วนหนึ่งนั้นอาจมาจากอิทธิพลของพุทธศาสนาและความเชื่อเรื่องบาป-บุญ
เศรษฐกิจที่คิดคำนึงถึงผู้หญิง : มองเรื่องของผู้หญิงในระบบเศรษฐกิจไทย
ผู้เขียนชวนให้พิจารณาถึงความเหลื่อมล้ำผ่านมิติทางเศรษฐกิจ ซึ่งเป็นผลมาจากมายาคติที่มีต่อเพศหญิงในอดีตจนนำไปสู่การแบ่งแยกงานในระบบทุนนิยม ถึงแม้…ในโลกยุคปี 2022 จะมีความก้าวหน้าในหลายๆ ด้าน ไม่ว่าจะเป็นนวัตกรรมหรือเทคโนโลยี ถึงแม้…ผู้หญิงจะมีบทบาททางเศรษฐกิจและเป็นหนึ่งในฟันเฟืองที่สำคัญของวิถีการผลิตมากขึ้น แต่ขนบความเชื่อเดิมในเรื่องของความเหลื่อมล้ำยังคงถูกผลิตซ้ำรุ่นต่อรุ่นอยู่ร่ำไป
24 มิถุนายน 2475: อภิวัฒน์เปลี่ยนแปลงการปกครองแผ่นดิน พลิกฟ้าปรับเปลี่ยนเศรษฐกิจไทย
การอภิวัฒน์เปลี่ยนแปลงการปกครองแผ่นดินสยาม ในวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 มีความสำคัญในฐานะของวันที่มีการเปลี่ยนระบอบการปกครองจากสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาสู่การปกครองในระบอบประชาธิปไตย หรือ “ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ” ซึ่งเป็นคำที่ ปรีดี พนมยงค์ ใช้อธิบายการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อย่างไรก็ดี การดำเนินการของคณะราษฎรในวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 นั้น มิได้เป็นเพียงการเปลี่ยนระบอบการปกครองเท่านั้น แต่ยังเป็นการเปลี่ยนแปลงในทางเศรษฐกิจขนานใหญ่ของประเทศ
ความสัมพันธ์ระหว่างบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญกับสิทธิสวัสดิการสาธารณสุข
ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐธรรมนูญกับสิทธิสวัสดิการเป็นประเด็นที่มีความน่าสนใจว่า ในทางปฏิบัติบทบัญญัติของกฎหมายที่บังคับให้รัฐต้องใส่ใจเรื่องสิทธิสวัสดิการนั้นเป็นผลมาจากรัฐธรรมนูญจริงหรือไม่ บทความนี้ลองพิจารณาผ่านสิทธิสวัสดิการสาธารณสุข
รัฐธรรมนูญเยอรมันกับความผูกพันในเรื่องสิทธิสวัสดิการ
หลักสังคมรัฐเป็นหัวใจสำคัญของการสร้างความผูกพันทางการเมืองระหว่างรัฐบาลกับพลเมือง โดยรัฐบาลเยอรมนีได้อาศัยหลักการนี้ในการแทรกแซงทางเศรษฐกิจและสร้างความเป็นธรรมให้กับสังคม
เมื่อสวัสดิการไทยเป็นได้แค่เพียงบทบัญญัติในกระดาษ
บทบัญญัติของรัฐธรรมนูญได้รับรองสิทธิสวัสดิการของประชาชนเอาไว้ในหลายมาตรา ทว่า ในทางกลับกันสิทธิสวัสดิการของประเทศไทยกับมีทิศทางตรงกันข้ามกับสิ่งที่รัฐธรรมนูญบัญญัติไว้
การเคลื่อนไหวสิทธิแรงงานไทยในเดือนตุลา
การเคลื่อนไหวสิทธิแรงงานไทยในเดือนตุลาเริ่มต้นจากการเคลื่อนเข้าสู่การเกิดขึ้นของแรงงาน โดยบทความนี้จะได้บอกเล่าเรื่องการเคลื่อนไหวสิทธิแรงงานไทยในเดือนตุลา
ทุกข์ของชาวนา: กลุ่มคนที่ถูกสังคมทอดทิ้งไว้ที่ชายขอบของการพัฒนาเสมอ
อาชีพเกษตรกรที่ถูกเรียกว่าเป็น “กระดูกสันหลังของชาติ” เป็นอาชีพที่อยู่คู่กับสังคมไทยมาช้านาน แต่ชาวนากลับเป็นอาชีพที่ยากลำบากที่สุดอาชีพหนึ่ง อย่างไรก็ตามแม้เวลาผ่านไป ปัญหาเหล่านี้ยังคงไม่ได้รับการแก้ไข ความทุกข์ของชาวนายังคงดำรงอยู่ และถึงแม้วิทยาการ และเทคโนโลยีการผลิต จะพัฒนาไปเพียงใด ความเป็นอยู่ของชาวนาก็ยังไม่ได้ดีขึ้นสิ่งนี้มาจากนโยบายการพัฒนาที่ทิ้งชาวนาไว้ที่ชายขอบ