ความรุนแรงต่อสตรีต้องยุติด้วยการแก้ไขวัฒนธรรม

ปัญหาเชิงโครงสร้างสำคัญหนึ่งของไทยที่ยังคงผลิตซ้ำความรุนแรงต่อผู้หญิง คือ สื่อบันเทิงไทย บทความนี้ต้องการนำเสนอปัญหาเกี่ยวกับการผลิตซ้ำความรุนแรงต่อผู้หญิง การเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรม และรัฐบาลที่พยายามผลักดันวัฒนธรรมเหล่านี้

ความจน ชาวนา แรงงาน: ภาพสะท้อนของการจัดการปัญหาความเหลื่อมล้ำโดยรัฐ

นำเสนอถึงปัญหาเศรษฐกิจไทยภายหลังการอภิวัฒน์ 2475 จากบทสัมภาษณ์ศาสตราภิชาน แล ได้กล่าวไว้ 3 เรื่องสำคัญ พร้อมกับผูกประเด็นเหล่านั้นกับแนวคิดและข้อเสนอของ ผศ.ดร. ธร ปิติดล จากงานวิจัยชื่อ “แนวคิดและอุดมการณ์กับพัฒนาการระบบสวัสดิการ”

ความยอกย้อนของการอธิบายสถานะพระราชกฤษฎีกาที่ 1 ในฐานะรัฐธรรมนูญ

ปรากฏความยอกย้อนของการอธิบายสถานะพระราชกฤษฎีกาที่ 1 จากทัศนะที่มองผ่านการตีความคำจำกัดความของรัฐธรรมนูญในปัจจุบัน จึงจำเป็นต้องย้อนให้ผู้อ่านมองผ่านบริบททางประวัติศาสตร์ของสังคมสยามและการรับรู้สถานะรัฐธรรมนูญของชนชั้นนำในห้วงยามนั้นที่มองร่างพระราชกฤษฎีกาที่ 1 ยังมิได้เป็นรัฐธรรมนูญประชาธิปไตยตามบริบทการเมืองในช่วงเวลานั้น

พูดคุยกับ คุณอุทัย พิมพ์ใจชน ส.ส. เก๋าเกมแห่งพรรคประชาธิปัตย์

คุณอุทัย พิมพ์ใจชน อดีตประธานรัฐสภาฯ ย้อนเล่าเรื่องราวเมื่อครั้งมีโอกาสได้เป็นหนึ่งในผู้ที่เดินทางไปรับอัฐิธาตุของรัฐบุรุษอาวุโสปรีดี พนมยงค์ ด้วยความศรัทธาในตัวท่านปรีดีทั้งในด้านแนวคิด และอีกทั้งคุณอุทัยยังเป็นศิษย์เก่ามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ที่ท่านปรีดีเป็นผู้ประศาสน์การ

คุยกับ อ.แล ดิลกวิทยรัตน์ เรื่อง แรงงาน รัฐสวัสดิการ และเศรษฐกิจหลัง 2475

ศาสตราภิชาน แล ดิลกวิทยรัตน์ ผู้เชี่ยวชาญด้านเศรษฐศาสตร์แรงงาน ประจำจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กล่าวถึงประเด็นด้านแรงงานนับตั้งแต่รากฐานทางเศรษฐกิจภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475 จนถึงประเด็นด้านขบวนการแรงงานรวมถึงหลักประกันทางกฎหมายของแรงงานไทยที่ผกผันไปตามพลวัตของประวัติศาสตร์เศรษฐศาสตร์การเมืองไทย

ประชาธิปไตย: ประชาธิปไตยสมบูรณ์ และประชาธิปไตยแบบมีส่วนขยายต่างๆ (ตอนจบ)

คำอธิบาย ความหมาย รวมไปถึงบริบทของคำว่าประชาธิปไตยที่ปรากฏในสังคมไทย ทั้ง “ประชาธิปไตยส่วนขยายต่างๆ ” รวมไปถึง “ประชาธิปไตยสมบูรณ์” ที่นายปรีดี พนมยงค์ได้เสนอไว้เป็นอุดมการณ์และแนวทางที่ท่านยึดถือยึดมั่นในการเปลี่ยนแปลงการปกครอง

สิทธิในกฎหมาย PDPA

มายฉบับนี้ว่า กฎหมายนี้คืออะไร ใช้อย่างไร และมีประโยชน์หรือไม่ จนหลายคนอาจจะเข้าใจว่า PDPA คือ“ กฎหมายการห้ามถ่ายรูปและห้ามนำรูปไปโพสต์ในโซเชียลมีเดียโดยไม่ยินยอม” รู้เท่ารู้ทันชวนมาเรียนรู้และทำความเข้าใจเกี่ยวกับกฎหมาย PDPA และการเรียนรู้สิทธิในการใช้ กฏหมายฉบับนี้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด

ปิดช่องโหว่วินัยการคลังให้เลือกตั้งอย่างเป็นธรรม

การเลือกตั้งครั้งนี้ แต่ละพรรคได้เสนอนโยบายแข่งขันกันอย่างเข้มข้น และนำไปสู่คำถามถึงที่มาของงบประมาณในแต่ละนโยบาย แต่นอกจากต้นทุนและแหล่งที่มาของเงินที่จะใช้ในแต่ละนโยบายที่ต้องพิจารณาแล้ว ยังมีอีกประเด็นสำคัญที่ต้องพิจารณาคือ การอนุมัติงบประมาณของรัฐบาลก่อนยุบสภา เพื่อให้มีการเลือกตั้ง เพราะการอนุมัติงบฯบางอย่างอาจสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขันช่วงเลือกตั้ง

สไลด์นำเสนอแนวทางการปรับใช้กฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลกับกิจกรรมของรัฐที่ได้รับการยกเว้น

สไลด์นำเสนอนี้เป็นเอกสารประกอบการนำเสนอบทความวิชาการเรื่อง “แนวทางการปรับใช้กฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลกับกิจกรรมของรัฐที่ได้รับการยกเว้น” ในการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 4 เรื่อง “Legal Tech and Sustainable Development” ในวันที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2566 ณ คณะนิติศาสตร์ปรีดี พนมยงค์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ปีการศึกษา 2565