As election campaigns are heating up, political parties are fiercely competing to win votes by offering generous cash handouts, raising concerns about their impacts on the country’s fiscal discipline for the incoming administration. It is a legitimate concern. Yet the focus on the post-election financial burden should not overshadow the outgoing administration’s last-minute budget spending for political gains, which also endangers fiscal discipline.
บทความกฎหมายมหาชน
กฎหมายมหาชน คือ กฎหมายว่าด้วยความสัมพันธ์ระหว่างองค์กรผู้ใช้อำนาจด้วยกันเอง และระหว่างองค์กรผู้ใช้อำนาจรัฐกับประชาชน โดยมีเนื้อหาครอบคลุมหลายสาขาด้วยกัน ได้แก่ กฎหมายรัฐธรรมนูญ กฎหมายปกครอง และกฎหมายการคลัง สำหรับบทความในหน้านี้จะเป็นบทความกฎหมายมหาชนทั่วๆ ไป ซึ่งเกี่ยวข้องกับกฎหมายมหาชนในแต่ละสาขา
วุฒิสภา (สูงวัย) ในไทยกับบทบาทของสภาสูงในโลก : มองบทบาทวุฒิสภาไทยเปรียบเทียบต่างประเทศ
Article • Constitutional Law
ภายหลังการเลือกตั้งใหญ่เมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม 2566 พรรคก้าวไกลได้รับชัยชนะจากการเลือกตั้งด้วยคะแนนเสียงล้นหลามจนทำให้เกิดคำถามว่า คุณพิธา ลิ้มเจริญรัตน์ พรรคก้าวไกลจะได้มีโอกาสเป็นนายกรัฐมนตรีหรือไม่ เพราะด้วยกลไกอันแปลกประหลาดของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 ได้เปิดทางให้สมาชิกวุฒิสภาอันทรงเกียรติเข้าไปมีส่วนร่วมในการเลือกนายกรัฐมนตรีได้
May 31, 2023
Tagged การอภิวัฒน์สยาม ปรีดี พนมยงค์ รัฐธรรมนูญ รัฐสภา สถาบันปรีดี พนมยงค์ การเลือกตั้ง พฤฒสภา วุฒิสภา สภาผู้แทนราษฎร สภาเดียว E-Public Law
Fixing fiscal laws to have fair elections
Article • Fiscal Law
As election campaigns are heating up, political parties are fiercely competing to win votes by offering generous cash handouts, raising concerns about their impacts on the country’s fiscal discipline for the incoming administration. It is a legitimate concern. Yet the focus on the post-election financial burden should not overshadow the outgoing administration’s last-minute budget spending for political gains, which also endangers fiscal discipline.
May 25, 2023
Tagged Charter of Budget Honesty Law Elections Fair Elections Fiscal Discipline Law Fiscal Discipline Fiscal Law Fiscal Responsibility Law Prayut Chan-o-cha Quasi-fiscal State Fiscal and Financial Act
ปรับปรุง ‘กฎหมายวินัยการคลัง’ ใช้งบก่อนเลือกตั้งรัดกุม
Article • Fiscal Law
ในช่วงการเลือกตั้งที่จะถึงนี้ พรรคการเมืองทยอยนำเสนอนโยบายให้กับประชาชน ทำให้หลายฝ่ายกังวลว่านโยบายดังกล่าวจะเป็น ประชานิยม ที่มุ่งสร้างความนิยมทางการเมืองชั่วคราว และกระทบต่อวินัยการคลังของประเทศ ซึ่งทั้งหมดเป็นเรื่องการใช้งบประมาณหลังจากได้เป็นรัฐบาลแล้ว นอกเหนือจากการใช้งบหลังจากการเป็นรัฐบาลแล้ว ประเด็นความใส่ใจต่อวินัยทางการคลังในช่วงการเลือกตั้งก็เป็นสิ่งไม่ควรจะละเลยอย่างยิ่ง
April 29, 2023
Tagged วินัยทางการคลัง การเลือกตั้ง การใช้งบก่อนเลือกตั้ง พระราชบัญญัติวินัยการเงินการคลังของรัฐ พ.ศ. 2561 วินัยการคลัง วินัยการเงินการคลังของรัฐ
เลือกตั้งเสมอภาคในบริบทรัฐธรรมนูญไทยและเทศ
Article • Constitutional Law
ความเสมอภาคของปวงชนชาวไทยที่ได้ถูกบัญญัติขึ้นครั้งแรกใน “พระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว พ.ศ. 2475” ถือเป็นหมุดหมายสำคัญในการรับรองสิทธิและเสรีภาพให้แก่ประชาชนผ่านการเลือกตั้ง และเปรียบเทียบพัฒนาการทางการเมืองระหว่างไทยและต่างประเทศ โดยสะท้อนถึงบริบทและเงื่อนไขที่แตกต่างกันไปในแต่ละพลวัตทางสังคม อันนำไปสู่ความเสมอภาคของประชาชน
December 29, 2022
Tagged คณะราษฎร ปรีดี พนมยงค์ พระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว พุทธศักราช 2475 รัฐธรรมนูญ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรชุดแรก สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรประเภทที่ ๅ เลือกตั้งเสรี เลือกตั้งโดยเสมอภาค CONSTITUTE Project E-Public Law
ทหารและกองทัพในบริบทของรัฐธรรมนูญไทย
Article • Constitutional Law
จุดเริ่มต้นบทบาทของทหารและกองทัพผ่านรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ซึ่งได้กลายมาเป็นต้นแบบในรัฐธรรมนูญฉบับต่อๆ มา เพื่อกำหนดตำแหน่งแห่งที่ของทหารและกองทัพเชิงวัฒนธรรม จนท้ายที่สุดได้สถาปนาให้ทหารและกองทัพเป็นหนึ่งในขั้วอำนาจที่อยู่คู่กับการเมืองไทยมาตลอดนับตั้งการรัฐประหาร 2490 พร้อมทั้งวิเคราะห์รัฐธรรมนูญในมิติวัฒนธรรมที่ส่งผลต่อตำแหน่งแห่งที่ของทหารและกองทัพ
December 13, 2022
Tagged รัฐธรรมนูญ กองทัพ ชาญวิทย์ เกษตรศิริ ทหาร นิธิ เอียวศรีวงศ์ ประวัติศาสตร์ไทย ประเทศไทย รัฐธรรมนูญฉบับวัฒนธรรม
The Crown: พิจารณายุคสมัยของควีนบนหนทางของการปกเกล้าไม่ปกครองThe Crown: พิจารณายุคสมัยของควีน
Article • Constitutional Law
เดอะคราวน์ (The Crown) เป็นซีรีส์ที่ถ่ายทอดเรื่องราว (ที่ปรับแต่ง) ของสถาบันกษัตริย์อังกฤษในยุคสมัยของสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 ซึ่งเป็นยุคสมัยที่ยาวนานและเต็มไปด้วยเรื่องราวต่างๆ เกิดขึ้นมากมาย สะท้อนบทบาทของสถาบันกษัตริย์ในยุคสมัยใหม่ที่สถาบันกษัตริย์ที่อยู่มาอย่างยาวนานในหลายประเทศค่อยๆ ล้มหายไป สิ่งหนึ่งที่น่าสนใจก็คือ บทบาทของสถาบันกษัตริย์อังกฤษในระบอบประชาธิปไตยภายใต้การนำของสมเด็จพระราชินีนาถฯ สะท้อนผ่านซีรีส์เรื่องนี้
September 12, 2022
Tagged พระมหากษัตริย์ พระราชอำนาจ รัฐธรรมนูญ สถาบันกษัตริย์ สถาบันปรีดี พนมยงค์ สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบ็ธ ที่ 2
ปลดล็อคท้องถิ่น เดอะ ซีรีส์ : ยุทธการปลดล็อคท้องถิ่น
Article • Administrative Law
ความสำคัญของการกระจายอำนาจเป็นพื้นฐานของการปกครองสมัยใหม่ที่เน้นความสะดวก ใกล้ชิดกับปัญหา และตอบสนองความต้องการของคนในพื้นที่ อย่างไรก็ดี ปัญหาของการกระจายอำนาจในปัจจุบันนั้นอยู่ในสภาวะของการกระจายอำนาจเทียมโดยเป็นการกระจายอำนาจแต่เพียงรูปแบบทำให้การกระจายอำนาจยังไปไม่ถึงไหน จึงต้องนำมาสู่ยุทธการปลดล็อคท้องถิ่น
July 27, 2022
Tagged การกระจายอำนาจ กฎหมายปกครองท้องถิ่น กระจายอำนาจทางปกครอง การกระจายอำนาจทางการคลัง ท้องถิ่น ปลดล็อคท้องถิ่น เดอะ ซีรีส์ ปลดล็อคท้องถิ่น
ปลดล็อคท้องถิ่น เดอะ ซีรีส์ : กระจายอำนาจที่ไม่กระจายอำนาจ
Article • Administrative Law
“การกระจายอำนาจ” เป็นพื้นฐานของการปกครองสมัยใหม่ ซึ่งต้องการกระจายบทบาทของการจัดทำบริการสาธารณะจากรัฐส่วนกลางไปสู่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีความใกล้ชิดกับประชาชน เนื่องจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นนั้นอยู่ใกล้ชิดภายในพื้นที่ จึงทำให้สามารถสนองความต้องการของคนในพื้นที่ได้มากกว่า
Tagged การกระจายอำนาจ กระจายอำนาจทางปกครอง กระจายอำนาจ ท้องถิ่น ปลดล็อคท้องถิ่น เดอะ ซีรีส์ ปลดล็อคท้องถิ่น องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ปลดล็อคท้องถิ่น เดอะ ซีรีส์ : ปรับข้อจำกัดด้านการจัดทำงบประมาณ เพิ่มศักยภาพของท้องถิ่น
Article • Fiscal Law
กระแสเรียกร้องให้ “ปลดล็อคท้องถิ่น” ถูกพูดมากขึ้นในช่วงหลายปีที่ผ่านมา โดยเฉพาะอย่างยิ่งภายหลังการเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร และนายกเมืองพัทยา จึงเกิดกระแสเรียกร้องในหลายๆ จังหวัดที่ต้องการมีผู้ว่าราชการที่มาจากการเลือกตั้งแบบเดียวกันกับกรุงเทพฯ และเมืองพัทยา โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อการได้ผู้ว่ากรุงเทพฯ กลายเป็นความหวังใหม่ของคนกรุงเทพฯ ท่ามกลายสถานการณ์ที่เคร่งเครียดทางเศรษฐกิจและวิถีชีวิตที่ติดหล่ม อย่างไรก็ตาม การกระจายอำนาจนี้มาพร้อมความอิสระจริงหรือไม่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเรื่องการคลัง ซึ่งงบประมาณเป็นหัวใจสำคัญของการขับเคลื่อนสิ่งต่างๆ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) ซึ่งรวมถึงกรุงเทพฯ มีอิสระแค่ไหน ผู้บริหารท้องถิ่นมีอำนาจตัดสินใจ และคนในพื้นที่มีความสามารถจะร่วมกับ อปท. เพื่อใช้งบประมาณตอบสนองความต้องการของคนในพื้นที่ได้แค่ไหน
July 8, 2022
Tagged การกระจายอำนาจ กฎหมายปกครองส่วนท้องถิ่น กระจายอำนาจ การกระจายอำนาจทางปกครอง ท้องถิ่น ปลดล็อคท้องถิ่น เดอะ ซีรีส์องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
วันขึ้นปีใหม่ : วันเริ่มต้นปีงบประมาณในอดีต
Article • Fiscal Law
วันขึ้นปีใหม่มีความสำคัญต่องบประมาณของประเทศไทย โดยในอดีตวันขึ้นปีใหม่มักจะสัมพันธ์กับวันเริ่มต้นและสิ้นสุดของงบประมาณแผ่นดิน ก่อนจะมีการเปลี่ยนแปลงเป็นวันเริ่มต้นปีงบประมาณแบบในปัจจุบัน
May 1, 2022
Tagged กฎหมายงบประมาณ การคลัง งบประมาณแผ่นดิน วิธีการงบประมาณ วันเริ่มต้นปีงบประมาณ
หน้า: 1 2