ป้ายกำกับ: การอภิวัฒน์สยาม

วุฒิสภา (สูงวัย) ในไทยกับบทบาทของสภาสูงในโลก : มองบทบาทวุฒิสภาไทยเปรียบเทียบต่างประเทศ

ภายหลังการเลือกตั้งใหญ่เมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม 2566 พรรคก้าวไกลได้รับชัยชนะจากการเลือกตั้งด้วยคะแนนเสียงล้นหลามจนทำให้เกิดคำถามว่า คุณพิธา ลิ้มเจริญรัตน์ พรรคก้าวไกลจะได้มีโอกาสเป็นนายกรัฐมนตรีหรือไม่ เพราะด้วยกลไกอันแปลกประหลาดของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 ได้เปิดทางให้สมาชิกวุฒิสภาอันทรงเกียรติเข้าไปมีส่วนร่วมในการเลือกนายกรัฐมนตรีได้

นโยบายการปฏิรูปที่ดินเพื่อลดความเหลื่อมล้ำในสังคมของคณะราษฎร

จากหลัก 6 ประการข้อที่ 3 ว่าด้วย “เศรษฐกิจ” สู่ความพยายามของคณะราษฎรต่อนโยบายการปฏิรูปที่ดินหลังการอภิวัฒน์สยาม 2475 ซึ่งต้องเผชิญแรงเสียดทานของผู้คนในระบอบเก่า

PRIDI Economic Focus: เศรษฐกิจของความรักชาติในเค้าโครงการเศรษฐกิจ

ปรีดี พนมยงค์ เป็นบุคคลหนึ่งที่มีความน่าสนใจทั้งในทางการเมืองและในทางเศรษฐกิจ ในแง่หนึ่ง ปรีดี เป็นนักคิดและเป็นนักปฏิบัติภายในตัวเอง โดยมีความคิดในการผสมผสานเอาหลักการทางเศรษฐกิจหลายๆ เรื่องมาใช้เพื่อวางโครงการทางเศรษฐกิจ หนึ่งในแนวคิดสำคัญ และอาจเรียกได้ว่าเป็นอุดมการณ์สำคัญของ ปรีดี คือ ความรักชาติ ซึ่งสะท้อนอยู่ในเค้าโครงการเศรษฐกิจที่ถูกนำเสนอมาควบคู่กับเจตนารมณ์จะทำเพื่อบำรุงความสุขสมบูรณ์ของราษฎร

24 มิถุนายน 2475: อภิวัฒน์เปลี่ยนแปลงการปกครองแผ่นดิน พลิกฟ้าปรับเปลี่ยนเศรษฐกิจไทย

การอภิวัฒน์เปลี่ยนแปลงการปกครองแผ่นดินสยาม ในวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 มีความสำคัญในฐานะของวันที่มีการเปลี่ยนระบอบการปกครองจากสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาสู่การปกครองในระบอบประชาธิปไตย หรือ “ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ” ซึ่งเป็นคำที่ ปรีดี พนมยงค์ ใช้อธิบายการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อย่างไรก็ดี การดำเนินการของคณะราษฎรในวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 นั้น มิได้เป็นเพียงการเปลี่ยนระบอบการปกครองเท่านั้น แต่ยังเป็นการเปลี่ยนแปลงในทางเศรษฐกิจขนานใหญ่ของประเทศ

ความสัมพันธ์ของเรื่องเศรษฐกิจและการเมือง

รัฐบาลไม่เป็นประชาธิปไตยทำให้เศรษฐกิจไม่ดี จริงหรือไม่ ? รัฐบาลที่ไม่เป็นประชาธิปไตยไม่สามารถจัดการเศรษฐกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพหรือทำให้เศรษฐกิจดีขึ้นได้ จริงหรือไม่ ? สำรวจความสัมพันธ์ระหว่างเศรษฐกิจและการเมือง

คำอธิบายเค้าโครงการเศรษฐกิจของหลวงประดิษฐ์มนูธรรม (ปรีดี พนมยงค์)

ค้าโครงการเศรษฐกิจของหลวงประดิษฐ์มนูธรรม (ปรีดี พนมยงค์) เป็นเอกสารสำคัญเกี่ยวกับการวางแผนเศรษฐกิจของประเทศไทย โดยอาจถือได้ว่าเป็นความพยายามในการวางแผนพัฒนาเศรษฐกิจเป็นครั้งแรกของประเทศ

ข้อถกเถียงเมื่อคราวร่างภาษีมรดกครั้งแรก

เมื่อเปลี่ยนแปลงอภิวัฒน์สยามเปลี่ยนแปลงการปกครองแล้ว ภาษีที่ดินเป็นเครื่องมืออย่างหนึ่งที่รัฐบาลนำมาใช้ในการเปลี่ยนแปลงการถือครองที่ดิน

กระบวนการจัดทำงบประมาณแผ่นดินภายหลังการอภิวัฒน์สยาม 2475

ภายหลังการอภิวัฒน์สยามไม่เพียงแต่เปลี่ยนแปลงผู้มีอำนาจสูงสุดทางงบประมาณ แต่ยังเปลี่ยนแปลงในเชิงกระบวนการที่ให้ความสำคัญกับบทบาทของประชาชนในทางงบประมาณอีกด้วย

แนวคิดเกี่ยวกับกรรมสิทธิ์ที่ดินในรัฐธรรมนูญฯ ของปรีดี พนมยงค์

การอภิวัฒน์สยามเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นการปกครองในระบอบประชาธิปไตยนั้นไม่ได้ส่งผลเฉพาะในทางการเมืองเท่านั้น ทว่า การเปลี่ยนแปลงการปกครองนั้นยังส่งผลในทางเศรษฐกิจอีกด้วย