ภายหลังการเลือกตั้งใหญ่เมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม 2566 พรรคก้าวไกลได้รับชัยชนะจากการเลือกตั้งด้วยคะแนนเสียงล้นหลามจนทำให้เกิดคำถามว่า คุณพิธา ลิ้มเจริญรัตน์ พรรคก้าวไกลจะได้มีโอกาสเป็นนายกรัฐมนตรีหรือไม่ เพราะด้วยกลไกอันแปลกประหลาดของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 ได้เปิดทางให้สมาชิกวุฒิสภาอันทรงเกียรติเข้าไปมีส่วนร่วมในการเลือกนายกรัฐมนตรีได้
ป้ายกำกับ: ปรีดี พนมยงค์
วุฒิสภา (สูงวัย) ในไทยกับบทบาทของสภาสูงในโลก : มองบทบาทวุฒิสภาไทยเปรียบเทียบต่างประเทศ
ภายหลังการเลือกตั้งใหญ่เมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม 2566 พรรคก้าวไกลได้รับชัยชนะจากการเลือกตั้งด้วยคะแนนเสียงล้นหลามจนทำให้เกิดคำถามว่า คุณพิธา ลิ้มเจริญรัตน์ พรรคก้าวไกลจะได้มีโอกาสเป็นนายกรัฐมนตรีหรือไม่ เพราะด้วยกลไกอันแปลกประหลาดของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 ได้เปิดทางให้สมาชิกวุฒิสภาอันทรงเกียรติเข้าไปมีส่วนร่วมในการเลือกนายกรัฐมนตรีได้
คณะราษฎรกับภารกิจเพื่อสร้างระบบภาษีที่เป็นธรรมในสังคมไทย
ผลกระทบภายหลังจากการทำสนธิสัญญาเบาว์ริงที่เข้ามาเปลี่ยนแปลงสภาพเศรษฐกิจของสังคมสยาม และการกำหนดประเภทของภาษี รวมถึงผลกระทบของภาษีที่เกิดขึ้นกับสังคม และความพยายามของคณะราษฎรเพื่อสร้างความเป็นธรรมในระบอบภาษีของสยาม
นโยบายการปฏิรูปที่ดินเพื่อลดความเหลื่อมล้ำในสังคมของคณะราษฎร
จากหลัก 6 ประการข้อที่ 3 ว่าด้วย “เศรษฐกิจ” สู่ความพยายามของคณะราษฎรต่อนโยบายการปฏิรูปที่ดินหลังการอภิวัฒน์สยาม 2475 ซึ่งต้องเผชิญแรงเสียดทานของผู้คนในระบอบเก่า
เกร็ดเล็กๆ ของความเป็นสมัยใหม่ : นิคมนักศึกษามหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง
เกร็ดประวัติศาสตร์ของความพยายามในการส่งเสริมให้ราษฎรไทยสามารถเข้าถึงโอกาสทางการศึกษาได้อย่างเสมอภาค ผ่านมุมมองการก่อตั้ง “นิคมนักศึกษามหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง” อันเป็นสถานที่ที่สะท้อนถึงความก้าวหน้าของความเป็นสมัยใหม่ซึ่งเต็มไปด้วยความผูกพันของนิสิตนักศึกษาในช่วงเวลาดังกล่าว
เเนวคิดทางเศรษฐศาสตร์การเมืองของ ปรีดี พนมยงค์ ต่อสังคมไทย : บทสรุปในหนังสือวิพากษ์เศรษฐศาสตร์การเมืองของ ปรีชา เปี่ยมพงศ์สานต์
อ่านความคิดเศรษฐศาสตร์การเมืองของ ‘นายปรีดี พนมยงค์’ ผ่านบทสรุปจากงานศึกษาเรื่อง “รื้อถอนการพัฒนา ความยั่งยืนทางนิเวศ และความยุติธรรมทางสังคม : บทวิพากษ์เศรษฐศาสตร์การเมือง” โดย ‘ปรีชา เปี่ยมพงศ์สานต์’ โดยวิเคราะห์กรอบความคิดและทำความเข้าใจมุมมองของนายปรีดีที่ใช้ผลักดันสังคมสยามในระยะเปลี่ยนผ่าน
ปรีดีศึกษา : ย้อนอ่านความคิดรัตนบุรุษสยาม
แนวคิดที่หลากมิติของ ‘นายปรีดี พนมยงค์’ สำหรับการทำงานเพื่อรับใช้สังคมอันเป็นเจตนารมณ์ที่ได้ต่อยอดทั้งในทางเศรษฐกิจ การเมือง วัฒนธรรม และสันติภาพ อันเป็นหลักการที่วางรากฐานและสร้างคุณค่าให้แก่ระบอบประชาธิปไตย โดยแก่หลักสำคัญได้แก่ “ปรัชญาสังคมนิยมวิทยาศาสตร์ประชาธิปไตย”
รีวิวหนังสือ: สร้างสังคมไทยให้เป็นรัฐสวัสดิการ
หนังสือสร้างสังคมไทยให้เป็นรัฐสวัสดิการเป็นหนังสือเศรษฐศาสตร์การเมืองเล่มหนึ่งที่น่าสนใจอธิบายปรากฏการณ์เกี่ยวกับเศรษฐกิจของประเทศไทย และการต่อสู้ของขบวนการรัฐสวัสดิการ
เลือกตั้งเสมอภาคในบริบทรัฐธรรมนูญไทยและเทศ
ความเสมอภาคของปวงชนชาวไทยที่ได้ถูกบัญญัติขึ้นครั้งแรกใน “พระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว พ.ศ. 2475” ถือเป็นหมุดหมายสำคัญในการรับรองสิทธิและเสรีภาพให้แก่ประชาชนผ่านการเลือกตั้ง และเปรียบเทียบพัฒนาการทางการเมืองระหว่างไทยและต่างประเทศ โดยสะท้อนถึงบริบทและเงื่อนไขที่แตกต่างกันไปในแต่ละพลวัตทางสังคม อันนำไปสู่ความเสมอภาคของประชาชน
PRIDI Economic Focus: เศรษฐกิจของความรักชาติในเค้าโครงการเศรษฐกิจ
ปรีดี พนมยงค์ เป็นบุคคลหนึ่งที่มีความน่าสนใจทั้งในทางการเมืองและในทางเศรษฐกิจ ในแง่หนึ่ง ปรีดี เป็นนักคิดและเป็นนักปฏิบัติภายในตัวเอง โดยมีความคิดในการผสมผสานเอาหลักการทางเศรษฐกิจหลายๆ เรื่องมาใช้เพื่อวางโครงการทางเศรษฐกิจ หนึ่งในแนวคิดสำคัญ และอาจเรียกได้ว่าเป็นอุดมการณ์สำคัญของ ปรีดี คือ ความรักชาติ ซึ่งสะท้อนอยู่ในเค้าโครงการเศรษฐกิจที่ถูกนำเสนอมาควบคู่กับเจตนารมณ์จะทำเพื่อบำรุงความสุขสมบูรณ์ของราษฎร
24 มิถุนายน 2475: อภิวัฒน์เปลี่ยนแปลงการปกครองแผ่นดิน พลิกฟ้าปรับเปลี่ยนเศรษฐกิจไทย
การอภิวัฒน์เปลี่ยนแปลงการปกครองแผ่นดินสยาม ในวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 มีความสำคัญในฐานะของวันที่มีการเปลี่ยนระบอบการปกครองจากสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาสู่การปกครองในระบอบประชาธิปไตย หรือ “ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ” ซึ่งเป็นคำที่ ปรีดี พนมยงค์ ใช้อธิบายการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อย่างไรก็ดี การดำเนินการของคณะราษฎรในวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 นั้น มิได้เป็นเพียงการเปลี่ยนระบอบการปกครองเท่านั้น แต่ยังเป็นการเปลี่ยนแปลงในทางเศรษฐกิจขนานใหญ่ของประเทศ