การอภิวัฒน์เปลี่ยนแปลงการปกครองแผ่นดินสยาม ในวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 มีความสำคัญในฐานะของวันที่มีการเปลี่ยนระบอบการปกครองจากสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาสู่การปกครองในระบอบประชาธิปไตย หรือ “ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ” ซึ่งเป็นคำที่ ปรีดี พนมยงค์ ใช้อธิบายการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อย่างไรก็ดี การดำเนินการของคณะราษฎรในวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 นั้น มิได้เป็นเพียงการเปลี่ยนระบอบการปกครองเท่านั้น แต่ยังเป็นการเปลี่ยนแปลงในทางเศรษฐกิจขนานใหญ่ของประเทศ
ป้ายกำกับ: เค้าโครงการเศรษฐกิจ
คณะราษฎรกับภารกิจเพื่อสร้างระบบภาษีที่เป็นธรรมในสังคมไทย
ผลกระทบภายหลังจากการทำสนธิสัญญาเบาว์ริงที่เข้ามาเปลี่ยนแปลงสภาพเศรษฐกิจของสังคมสยาม และการกำหนดประเภทของภาษี รวมถึงผลกระทบของภาษีที่เกิดขึ้นกับสังคม และความพยายามของคณะราษฎรเพื่อสร้างความเป็นธรรมในระบอบภาษีของสยาม
นโยบายการปฏิรูปที่ดินเพื่อลดความเหลื่อมล้ำในสังคมของคณะราษฎร
จากหลัก 6 ประการข้อที่ 3 ว่าด้วย “เศรษฐกิจ” สู่ความพยายามของคณะราษฎรต่อนโยบายการปฏิรูปที่ดินหลังการอภิวัฒน์สยาม 2475 ซึ่งต้องเผชิญแรงเสียดทานของผู้คนในระบอบเก่า
เเนวคิดทางเศรษฐศาสตร์การเมืองของ ปรีดี พนมยงค์ ต่อสังคมไทย : บทสรุปในหนังสือวิพากษ์เศรษฐศาสตร์การเมืองของ ปรีชา เปี่ยมพงศ์สานต์
อ่านความคิดเศรษฐศาสตร์การเมืองของ ‘นายปรีดี พนมยงค์’ ผ่านบทสรุปจากงานศึกษาเรื่อง “รื้อถอนการพัฒนา ความยั่งยืนทางนิเวศ และความยุติธรรมทางสังคม : บทวิพากษ์เศรษฐศาสตร์การเมือง” โดย ‘ปรีชา เปี่ยมพงศ์สานต์’ โดยวิเคราะห์กรอบความคิดและทำความเข้าใจมุมมองของนายปรีดีที่ใช้ผลักดันสังคมสยามในระยะเปลี่ยนผ่าน
ปรีดีศึกษา : ย้อนอ่านความคิดรัตนบุรุษสยาม
แนวคิดที่หลากมิติของ ‘นายปรีดี พนมยงค์’ สำหรับการทำงานเพื่อรับใช้สังคมอันเป็นเจตนารมณ์ที่ได้ต่อยอดทั้งในทางเศรษฐกิจ การเมือง วัฒนธรรม และสันติภาพ อันเป็นหลักการที่วางรากฐานและสร้างคุณค่าให้แก่ระบอบประชาธิปไตย โดยแก่หลักสำคัญได้แก่ “ปรัชญาสังคมนิยมวิทยาศาสตร์ประชาธิปไตย”
รีวิวหนังสือ: สร้างสังคมไทยให้เป็นรัฐสวัสดิการ
หนังสือสร้างสังคมไทยให้เป็นรัฐสวัสดิการเป็นหนังสือเศรษฐศาสตร์การเมืองเล่มหนึ่งที่น่าสนใจอธิบายปรากฏการณ์เกี่ยวกับเศรษฐกิจของประเทศไทย และการต่อสู้ของขบวนการรัฐสวัสดิการ
24 มิถุนายน 2475: อภิวัฒน์เปลี่ยนแปลงการปกครองแผ่นดิน พลิกฟ้าปรับเปลี่ยนเศรษฐกิจไทย
การอภิวัฒน์เปลี่ยนแปลงการปกครองแผ่นดินสยาม ในวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 มีความสำคัญในฐานะของวันที่มีการเปลี่ยนระบอบการปกครองจากสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาสู่การปกครองในระบอบประชาธิปไตย หรือ “ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ” ซึ่งเป็นคำที่ ปรีดี พนมยงค์ ใช้อธิบายการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อย่างไรก็ดี การดำเนินการของคณะราษฎรในวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 นั้น มิได้เป็นเพียงการเปลี่ยนระบอบการปกครองเท่านั้น แต่ยังเป็นการเปลี่ยนแปลงในทางเศรษฐกิจขนานใหญ่ของประเทศ
การทำแผนพัฒนาเศรษฐกิจแห่งชาติ: จากวิธีการคอมมิวนิสต์สู่หลักการสำคัญในปัจจุบัน
เค้าโครงการเศรษฐกิจถูกวิพากษ์วิจารณ์ว่าใช้วิธีการแบบคอมมิวนิสต์ แต่หากพิจารณาเนื้อหาของเค้าโครงการเศรษฐกิจแล้วกลับไม่ใช่ ในขณะที่เนื้อหาของแผนพัฒนาเศรษฐกิจแห่งชาติกลับมีที่มาจากแผน 5 ปี ของสตาลิน กลับไม่ถูกวิพากษ์วิจารณ์แบบเดียวกัน
กาลครั้งหนึ่งเมื่อประเทศไทยริเริ่มมีองค์กรวางนโยบายทางเศรษฐกิจ
ประเทศไทยเริ่มต้นมีการวางแผนเศรษฐกิจเมื่อไร และองค์กรวางนโยบายเศรษฐกิจเริ่มต้นเป็นจริงเป็นจังมีความเป็นมาอย่างไร
คำอธิบายเค้าโครงการเศรษฐกิจของหลวงประดิษฐ์มนูธรรม (ปรีดี พนมยงค์)
ค้าโครงการเศรษฐกิจของหลวงประดิษฐ์มนูธรรม (ปรีดี พนมยงค์) เป็นเอกสารสำคัญเกี่ยวกับการวางแผนเศรษฐกิจของประเทศไทย โดยอาจถือได้ว่าเป็นความพยายามในการวางแผนพัฒนาเศรษฐกิจเป็นครั้งแรกของประเทศ
ข้อถกเถียงเมื่อคราวร่างภาษีมรดกครั้งแรก
เมื่อเปลี่ยนแปลงอภิวัฒน์สยามเปลี่ยนแปลงการปกครองแล้ว ภาษีที่ดินเป็นเครื่องมืออย่างหนึ่งที่รัฐบาลนำมาใช้ในการเปลี่ยนแปลงการถือครองที่ดิน