ป้ายกำกับ: สวัสดิการสังคม

คุยกับ อ.แล ดิลกวิทยรัตน์ เรื่อง แรงงาน รัฐสวัสดิการ และเศรษฐกิจหลัง 2475

ศาสตราภิชาน แล ดิลกวิทยรัตน์ ผู้เชี่ยวชาญด้านเศรษฐศาสตร์แรงงาน ประจำจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กล่าวถึงประเด็นด้านแรงงานนับตั้งแต่รากฐานทางเศรษฐกิจภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475 จนถึงประเด็นด้านขบวนการแรงงานรวมถึงหลักประกันทางกฎหมายของแรงงานไทยที่ผกผันไปตามพลวัตของประวัติศาสตร์เศรษฐศาสตร์การเมืองไทย

PRIDI Economic Focus: เศรษฐกิจของความรักชาติในเค้าโครงการเศรษฐกิจ

ปรีดี พนมยงค์ เป็นบุคคลหนึ่งที่มีความน่าสนใจทั้งในทางการเมืองและในทางเศรษฐกิจ ในแง่หนึ่ง ปรีดี เป็นนักคิดและเป็นนักปฏิบัติภายในตัวเอง โดยมีความคิดในการผสมผสานเอาหลักการทางเศรษฐกิจหลายๆ เรื่องมาใช้เพื่อวางโครงการทางเศรษฐกิจ หนึ่งในแนวคิดสำคัญ และอาจเรียกได้ว่าเป็นอุดมการณ์สำคัญของ ปรีดี คือ ความรักชาติ ซึ่งสะท้อนอยู่ในเค้าโครงการเศรษฐกิจที่ถูกนำเสนอมาควบคู่กับเจตนารมณ์จะทำเพื่อบำรุงความสุขสมบูรณ์ของราษฎร

เมื่อสวัสดิการไทยเป็นได้แค่เพียงบทบัญญัติในกระดาษ

บทบัญญัติของรัฐธรรมนูญได้รับรองสิทธิสวัสดิการของประชาชนเอาไว้ในหลายมาตรา ทว่า ในทางกลับกันสิทธิสวัสดิการของประเทศไทยกับมีทิศทางตรงกันข้ามกับสิ่งที่รัฐธรรมนูญบัญญัติไว้

สวัสดิการการศึกษาเมืองไทย: หนทางที่ยังมืดมน

“สวัสดิการทางสังคม” เป็นโจทย์สำคัญของการพัฒนาคุณภาพชีวิตมนุษย์ และแม้รัฐบาลจะรับรองสวัสดิการนี้ไว้ว่าเป็นสิทธิที่จะได้รับการศึกษาโดยไม่คิดราคา แต่ในความเป็นจริงการเข้าสู่การศึกษาก็มีต้นทุนที่ทำให้มีคนอีกมากที่เข้าไม่ถึง

งบประมาณแผ่นดินกับการจัดสวัสดิการรักษาพยาบาล

คำถามสำคัญของบทความนี้ จึงมีอยู่ว่าต้นทุนที่ใช้ในการจัดสวัสดิการของสังคมไทยนั้นเยอะจริงหรือไม่ โดยในบทความนี้จะทำการสำรวจงบประมาณรายจ่ายประจำปีในส่วนที่เกี่ยวกับการจัดสวัสดิการของประเทศไทย โดยเฉพาะสิทธิสวัสดิการการรักษาพยาบาล