ป้ายกำกับ: รัฐธรรมนูญ

ประชาธิปไตย: ประชาธิปไตยสมบูรณ์ และประชาธิปไตยแบบมีส่วนขยายต่างๆ (ตอนจบ)

คำอธิบาย ความหมาย รวมไปถึงบริบทของคำว่าประชาธิปไตยที่ปรากฏในสังคมไทย ทั้ง “ประชาธิปไตยส่วนขยายต่างๆ ” รวมไปถึง “ประชาธิปไตยสมบูรณ์” ที่นายปรีดี พนมยงค์ได้เสนอไว้เป็นอุดมการณ์และแนวทางที่ท่านยึดถือยึดมั่นในการเปลี่ยนแปลงการปกครอง

“รัฐธรรมนูญฉบับวัฒนธรรม” กับ การยกร่างรัฐธรรมนูญใหม่

บทความชิ้นนี้ต้องการนำเสนอถึงปฏิสัมพันธ์ระหว่างรัฐธรรมนูญฉบับที่เป็นตัวกฎหมายกับฉบับวัฒนธรรม และการยกร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ ผ่านมโนทัศน์ ‘รัฐธรรมนูญฉบับวัฒนธรรม’

ประชาธิปไตย: ประชาธิปไตยสมบูรณ์ และประชาธิปไตยแบบมีส่วนขยายต่างๆ (ตอนที่ 1)

คำว่า “ประชาธิปไตย” มีความหมายที่ไม่หยุดนิ่งตลอดมา แม้จะปรากฏคำนี้ขึ้นในสังคมไทยมายาวนาน แต่ความเข้าใจถึงความหมายทั้งในทางทฤษฎีและทางปฏิบัตินั้นก็ยังไม่อาจหาคำจำกัดความได้อย่างลงตัวนัก

ย้อนดูคำพิพากษาศาลรัฐธรรมนูญ ชวนทำนายผลคำพิพากษาศาล

คำถามที่กำลังเกิดขึ้นในสังคมจึงนำมาสู่ประเด็นที่ว่า การพิจารณาในครั้งนี้ศาลรัฐธรรมนูญจะมีคำวินิจฉัยออกไปในลักษณะใด สถานการณ์แบบนี้จึงควรย้อนกลับมาทบทวนเกี่ยวกับสถานะของศาลรัฐธรรมนูญที่ควรจะเป็นตามหลักการอย่างไร เมื่อพิจารณาจากการเดินทางแห่งการพิพากษาในเรื่องทำนองนี้มาแล้วของศาลรัฐธรรมนูญ ผู้เขียนจึงใคร่ขอย้อนดูคำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญในอดีตเพื่อทำนายผลในอนาคต

วุฒิสภา (สูงวัย) ในไทยกับบทบาทของสภาสูงในโลก : มองบทบาทวุฒิสภาไทยเปรียบเทียบต่างประเทศ

ภายหลังการเลือกตั้งใหญ่เมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม 2566 พรรคก้าวไกลได้รับชัยชนะจากการเลือกตั้งด้วยคะแนนเสียงล้นหลามจนทำให้เกิดคำถามว่า คุณพิธา ลิ้มเจริญรัตน์ พรรคก้าวไกลจะได้มีโอกาสเป็นนายกรัฐมนตรีหรือไม่ เพราะด้วยกลไกอันแปลกประหลาดของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 ได้เปิดทางให้สมาชิกวุฒิสภาอันทรงเกียรติเข้าไปมีส่วนร่วมในการเลือกนายกรัฐมนตรีได้

ปิดช่องโหว่วินัยการคลังให้เลือกตั้งอย่างเป็นธรรม

การเลือกตั้งครั้งนี้ แต่ละพรรคได้เสนอนโยบายแข่งขันกันอย่างเข้มข้น และนำไปสู่คำถามถึงที่มาของงบประมาณในแต่ละนโยบาย แต่นอกจากต้นทุนและแหล่งที่มาของเงินที่จะใช้ในแต่ละนโยบายที่ต้องพิจารณาแล้ว ยังมีอีกประเด็นสำคัญที่ต้องพิจารณาคือ การอนุมัติงบประมาณของรัฐบาลก่อนยุบสภา เพื่อให้มีการเลือกตั้ง เพราะการอนุมัติงบฯบางอย่างอาจสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขันช่วงเลือกตั้ง

เลือกตั้งเสมอภาคในบริบทรัฐธรรมนูญไทยและเทศ

ความเสมอภาคของปวงชนชาวไทยที่ได้ถูกบัญญัติขึ้นครั้งแรกใน “พระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว พ.ศ. 2475” ถือเป็นหมุดหมายสำคัญในการรับรองสิทธิและเสรีภาพให้แก่ประชาชนผ่านการเลือกตั้ง และเปรียบเทียบพัฒนาการทางการเมืองระหว่างไทยและต่างประเทศ โดยสะท้อนถึงบริบทและเงื่อนไขที่แตกต่างกันไปในแต่ละพลวัตทางสังคม อันนำไปสู่ความเสมอภาคของประชาชน

ทหารและกองทัพในบริบทของรัฐธรรมนูญไทย

จุดเริ่มต้นบทบาทของทหารและกองทัพผ่านรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ซึ่งได้กลายมาเป็นต้นแบบในรัฐธรรมนูญฉบับต่อๆ มา เพื่อกำหนดตำแหน่งแห่งที่ของทหารและกองทัพเชิงวัฒนธรรม จนท้ายที่สุดได้สถาปนาให้ทหารและกองทัพเป็นหนึ่งในขั้วอำนาจที่อยู่คู่กับการเมืองไทยมาตลอดนับตั้งการรัฐประหาร 2490 พร้อมทั้งวิเคราะห์รัฐธรรมนูญในมิติวัฒนธรรมที่ส่งผลต่อตำแหน่งแห่งที่ของทหารและกองทัพ